วันอาทิตย์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2556

สรุปวิจัย

       การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

สรุปได้ว่า

          ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ที่ควรส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย ประกอบด้วยทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการวัด ทักษะการสื่อความหมาย ทักษะการลงความเห็น ทักษะการหาความสัมพันธ์มิติ-เวลา และทักษะพยากรณ์ สำหรับการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยมุ่งศึกษาเฉพาะ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสาตร์6 ทักษะ คือ ทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล ทักษะลงความเห็น และ ทักษะการพยากรณ์ ซึ่งเป็นทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ในระดับพื้นฐาน

ความมุ่งหมายของการวิจัย
          ในการวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยแยกเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะดังนี้
           1. เพื่อศึกษาผลของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
           2. เพื่เปรียบเทียบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ก่อนทดลองและหลังทดลอง

สมมุติฐานในการวิจัย
           เด็กปฐมวัยหลัฃจากได้รับการจัดการเรียนรู้เด็กนักวิจัยจะมรการเปลี่ยนแปลงของทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์แตกต่างจากก่อนการจัดกิจกรรม

ขอบเขตการวิจัย
          ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ เด็กปฐมวัยย ชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่3 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกาา 2551 โรงเรียนอนุบาลทนาพรวิทยา อำเภอบาละมุง จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน จำนวน 156คน

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจิย
           กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ เด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่3 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนอนุบาลทนาพรวิทยา อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักคณะกรรมการศึกษาเอกชน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายด้วยการจับสลาก 1 ห้องเรียน จากจำนวน 4 ห้องเรียน และจับสลากนักเรียนจากห้องที่จับสลากได้จำนวน 20 คน เป็นกลุ่มทดลอง

เครื่องมือที่ใช้ในการในการวิจัย
          1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
          2. แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

วิธีดำเนินการทดลอง
           การวิจัยครั้งนี้ ดำเนินการทดลองในภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2550 เป็นเวลา 8 สัปดาห์ 1 เรื่องใช้เวลา 2 สัปดาห์ จำนวน8วัน วันละ 30-40  นาที รวม 32 ครั้ง ในช่วงกิจกรรมเสริมประสบการณืในช่วงเวลา 9:30-10:15 น. โดยมีขั้นตอนดังนี้
            1. ผู้วิจัยสร้างความคุ้นเคยกับกลุ่มตัวอย่างเป็นเวลา1สัปดาห์
            2.ผู้วิจัยทำการทดสอบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย (prtest) ก่อนการทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง เป็นเวลา3วัน ได้แก วันจันทร์ อังคาร พุธ จากนั้นนำมาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์และเก็บคะแนนไว้เป็นหลักฐาน
            3. ผู้วิจัยดำเนินการทดลองในกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ไช้เวลา 8 สัปดาห์ เรื่องละ 2 สัปดาห์ จำนวน 8 วัน วันลำ 30-45 นาที ช่วงกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เวลา 9:30-10:15 น. 

การวิเคราะห์ข้อมูล
           1. หาค่าสถิตพื้นฐานของคะแนนจากแบบสอบถามความสามารถในการวิเ้คราะห์การแก้ปัญหาได้ ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยนเบนมาตรฐาน
           2. เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังการทดลองt-test แบบ Dependent samples 

สรุปผลการวิจัย
           1. ผลการศึกษาระดับความสามารถในการคิดวิเคราำห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนของระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
          2. ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยหลังได้รับจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยสศาสตร์นอกห้องเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าก่อนได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01

การอภิปราย
           จาการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาระดับความสามารถในการวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนและเปรียบเทียบความสามารถการคิดวิเคราะห์ที่ได้รับกิจกรรมกระบวนการวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนพบว่าการวิจัย ในครั้งนี้สามารถอภิปรายผลด้านต่างๆ ประกอบได้ดังนี้
           1. ผลการศึกษาระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์ที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยาศาสตร์นอกห้องภายหลังการได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยาสาส๖ร์นอกห้องเรียนมีระดับสูงขึ้นกว่าก่อนได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ.01 ซึ่งเป็นไปตามสมติฐาน ที่ตั้งไว้การที่เด็กปฐมวัยมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงขึ้น
            2.ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยหลังได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยาศาสตร์นิกห้องเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าก่อนการจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยาศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ.01 

วันพุธที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่18 วันที่ 23/9/56

วันนี้อาจารย์ได้สอนทำ cooking  ตามแผนที่เพื่อนได้นำเสนอไปในสัปดาห์ที่แล้ว

 หน่วยแกงจืด













                                       


 ขั้นตอนการปฏิบัติ
  1. โขลกรากผักชี กระเทียม พริกไทย ให้เข้ากันจนละเอียด แล้วพักไว้
  2. นำกระดูกหมูหรือไก่ใส่หม้อ ใสน้ำตามต้องการ ใส่เกลือนิดหน่อย วางทิ้งไว้ประมาณ 60 นาที เพื่อให้น้ำละลายเอาวิตามิน เกลือแร่ที่ละลายน้ำได้ ออกมาจากกระดูก  แล้วนำไปตั้งไฟอย่าให้แรงนัก คอยซ้อนฟองทิ้ง ตั้งไฟให้เดือดประมาณ 20 นาที ยกลง (ไฟอ่อน) รินหรือกรองเอาแต่น้ำใสๆ
  3. หั่นเนื้อหมูเป็นชิ้นๆ ถ้าเป็นเนื้อไก่ให้แล่เอาแต่เนื้อแล้วหั่นเป็นชิ้นๆ เช่นเดียวกับเนื้อหมู แล้วสับให้ละเอียดปั้นเป็นลูกกลมๆ เล็กๆ พักไว้
  4. เอาน้ำต้มกระดูกที่กรองแล้วใส่หม้อตั้งไฟให้เดือดพล่าน ใส่รากผักชี กระเทียม พริกไทยที่โขลกไว้ ใส่หมูหรือไก่ที่สับไว้  ถั่วงอกหัวโต เต้าหู้ขาวลงไป พอเดือดอีกครั้งใส่น้ำปลา แล้วชิมรส    ใสตั้งฉ่ายต้นหอมแล้วยกลง  
 
 
คุณค่าทางอาหารที่ได้รับ
    -โปรตีนจากเนื้อหมูหรือไก่ น้ำต้มกระดูก เต้าหู้ ถั่วงอกหัวโต
    - ไขมันจากมันในเนื้อหมู กระดูกหมู
    - วิตามินเอจากต้นหอม
    - คาร์โบไฮเดรตจากกระเทียม พริกไทย
    - แคลเซียมและฟอสฟอรัสจากต้นหอม น้ำปลา พริกไทย
    - ธาตุเหล็กจากพริกไทย


วันศุกร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่17 วันที่ 16/9/56

                      อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 8 กลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน10 แล้วแจกกระดาษ ให้ลุ่มละ  4 แผ่น แล้วให้เขียนแผนารจัดประสบการณ์ การประกอบอาหาร Cooking ดังนี้



                                  

                                  

                                   
                                                                       





วันจันทร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่16 วันที่15 /9/56

เรียนชดเชย เพื่อๆได้ออกมานำเสนอ ของเข้ามุมวิทยาศาสตร์ ดังนี้



กล่องสีน่าค้นหา



 สัตว์โลกน่ารัก



รถลงหลุม


นิทานแม่เหล็ก



ภาพสามมิติ



กระดาษเปลี่ยนสี



ซูโม่กระดาษ


ตัวอ่อนตัวเต็มวัย




การนำเสนอการจัดประสบการณ์ของเล่นวิทยาศสาสตร์  มีดังนี้


ตุ๊กตาล้มลุก



กระป๋องบูมมอแรง



ตารางวิทยาศาสตร์


วันอังคารที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่15 วันที่9/9/2556

         หมายเหตุ  ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ติดธุระ

                    และขอชดเชยในวันที่15กัยนยายม2556                                                  

วันจันทร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่14 วันที่2/9/2556

                                 อาจารย์ให้เสนอ กล่องของเล่นวิทยาศาสตร์ ดังนี้


กลุ่ม 1 การมองเห็นของผ่านวัตถุโป่งใส โป่งแสง และทึบแสง



กลุ่ม 2 กล่องนำแสง








กลุ่ม 3 สัตว์ไต่เชือก

กลุ่ม 4 กีตาร์กล่อง


กลุ่ม 5 วงจรผีเสื้อและไก่



กลุ่ม 6  มองวัตถุผ่าแว่นขยาย