วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่2 วันที่24/6/2556



สรุป กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือการค้นคว้าหาความรู้อย่างมีระบบ
ผลผลิต  คือ สิ่งที่ปรากฎขึ้นภายหลังจากที่ทำการทดลองหรือการศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์แล้วกิจกรรมนั้นกระบวนการและผลผลิต  ต้องเกี่ยวข้องอยู้เสมอ เมื่อครูจัดกิจกรรมต้องเฝ้าสังเกตวิธีการทำงานของเด็กละเสร็จแล้วต้องดูผลงานเด็ก การจัดกิจกรรมให้เด็กก็แตกต่างตามวัยเช่น เด็กประถมอาจกำหนดส่วนระหว่างกระบวนการกับผลผลิต50:50  แต่ปฐมวัย75:75  แสดงว่าปฐมวัยเน้นกระบวนการมากกว่าผลผลิตนั้นเอง
ตัวอย่าง
การให้เด็กทำน้ำส้มคั้น ซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการและผลผลิต 
-กระบวนการคิอวิธีการทำน้ำส้มคั้น
-ส่วนผลผลิต คือน้ำส้มที่เสร็จแล้ว
ในการที่เด็กทำเสร็จออกมาได้ดีเด็กต้องศึกษากระบวนการในการทำก่อนแล้วลงมือทำ
แนวความคิดของเกรกเอาไว้ 5 ประการ
1.การเปลี่ยนแปลง
2.ความแตกต่าง
3.การปรับตัว
4.การพึ่งพาอาศัยกัน
5.ความสมดุจ
แนวคิด 5 ประการนี้จะทำให้ครูเข้าใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับธรรมชาติของวิชา   นักวิทยาศาสตร์มีวิธีการทำงานอย่างมีระบบเป็น 5ลักษณะ ขั้นตอน4 ขั้นตอน
1.ขั้นกำหนด                                                                                   1.ขั้นการกำหนดปัญหา
2.ตั้งสมมุติฐาน                                                                              2.ตั้งสมมุติฐาน
3.ลงมือทดลองหรือรวบรวม                                                              3.การทดลอง
4. วิเคราะห์                                                                                  4.สรุปและนำไปใช้
5. สรุปผลและนำไปใช้
อาจารย์ให้ส่งตัวแทนวนไปอธิบายให้กลุ่มอื่นฟัง และสรุปได้ดังนี้
กลุ่มที่1    
  ความหมายวิทยาศาสตร์ ที่ใช้หลักและเหตุผลมาอ้างอิงและสามารถพิสูทธ์ได้ การสังเกตุและการทดลองสิ่งรอบตัวอย่างมีระบบแบบแผน
กลุ่มที่2
ความสำคัญ   คือ การให้การนำไปพัฒนาดศรษฐกิจ พัฒนาพยากรณ์ธรรมชาติ และให้มนุษย์ได้คิดกัน พัฒนาความคิดให้ดียิ่งขึ้น
กลุ่มที่3
พัฒนาการของเด็ก
การปฎิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ เพื่อให้เกิดการเรีนรู้และสมดุลระหว่างบุคคล กระบวนการเรียนรู้
1.กระบวนการดูดซึม
2.กระบวนการปรับโครงสร้าง
กลุ่มที่4
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือการค้นคว้าหาความรู้อย่างมีระบบ
กลุ่มที่5
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ เกรกให้แนวคิด 5 ประการ
1.การเปลี่ยนแปลงทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สอนให้รู้จักเวลา น้ำหนักตัว
2. คำแตกต่างสิ่งต่างๆที่มีความเหมือนความแตกต่างให้เด็กเรียนรู้จากการสังเกต
3.การปรับตัว ให้เด็กรู้จักการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
4.การพึ่งพา สอนให้เด็กรู้ถึงธรรมชาติให้เด็กรู้จักปรับตัวได้
5. ความสมดุลให้เด็กเข้าใจถึงธรรมชาติ เช่น ปลาอยู่ในน้ำ เพื่อรักษาความสมดุจไว้


กลุ่มที่6
ความหมายทักษะ  การปฎิบัติฝึกฝนกระบวนการทางคิดและการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์จนเกิดความชำนาญ แบ่งได้ 2ระดับ
1.       กระบวนการพื้นฐาน เช่น การสังเกตุ วัด จำแนก ความสำคัญ คำนวณ จัดทำข้อมูลสื่อความหมายลงความเห็นพยากรณ์
2.       กระบวนผสม มีตั้งสมมุติฐาน กำหนดนิยาม คำคุม ตัวแปร ทดลอง ตีความหมายและสรุป
                                         



วันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่1 วันที่17/6/2556

           วันนี้เป็นการเรียนการสอนคาบแรก อาจารย์ที่ปฐมนิเทศเนื้อหาเกี่ยวกับวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ดังนี้
1.พัฒนาการของเด็กปฐมวัย
2 การจัดประสบการณ์
3 วิทยาศาสตร์กับเด็กปฐมวัย

พร้อมสร้างข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนวิชานี้ อาจารย์ได้สั่งให้ทำบล็อคและบอกเนื้อหาที่ต้องมีในบล็อคดังนี้
1 ชื่อและคำอธิบายบล็อก
2 รูปและข้อมูลผู้เรียน
3 ปฎิธินและนาฬิกา
4 เชื่อมโยงบล็อกอาจารย์ผู้สอน หน่วยงานสนับสนุน แนวการสอนงานวิจัย สื่อ   (เพลง  นิทาน เกม ของเล่น)
   
           หลังจากนั้นอาจารย์ก็ได้สอนวิธีการทำ Mind Mapping ลงบล็อค จากนั้นอาจารย์ก็ปล่อยให้นักศึกษาให้ไปทำบล็อคเพื่อที่จะมาลิงค์ในสัปดาห์หน้า